วันจันทร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555

กศน.ตำบลมะรุ่ย


ข้อมูลพื้นฐาน

ที่ตั้ง  ศาลาประชาธิปไตย  หมู่ที่ 2  บ้านบ่อแสนไทรงาม  ตำบลมะรุ่ย อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา


ความเป็นมา

1.สภาพทั่วไป
   1.1 ประวัติความเป็นมา
         ตำบลมะรุ่ย จัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2440 มีประวัติความเป็นมาพอสรุป ได้ดังนี้
            เดิม คำว่า “มะรุ่ย” จากคำบอกเล่ามาจากคำว่า “หมากลุย” คำว่า “ลุย” มาจากภาษาทางภาคใต้ แปลว่า “มาก” ขณะนั้นในตำบลนี้มีการปลูกหมากกันมากผู้คนจึงเรียกตำบลนี้ตามพืชที่ปลูกจำนวนมาก คือ หมาก ว่า “หมากลุย” และค่อย ๆ เพี้ยนไปเป็น “มะรุ่ย” จนถึงปัจจุบัน
   1.2 ที่ตั้ง
           ตำบลมะรุ่ย เป็นตำบลหนึ่งในจำนวน 6 ตำบล ของอำเภอทับปุด จังหวัดพังงา อยู่ห่างจากที่ตั้งที่ว่าการอำเภอทับปุด ประมาณ 7 กิโลเมตร อยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดพังงา
    1.3 เนื้อที่
              เนื้อที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ยประมาณ 45.455 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 28,409.371 ไร่
    1.4 อาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง
              - ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลทับปุด
              - ทิศใต้ ติดต่อกับ อ่าวพังงา เขตอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่
              - ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่
              - ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลบ่อแสน อำเภอทับปุด
    1.5 ภูมิประเทศ
          ลักษณะภูมิประเทศของตำบลมะรุ่ย มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบและบางส่วนติดชายฝั่งทะเล พื้นที่เหมาะสมสำหรับทำการเกษตร ทำสวนยางพารา การปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ต่าง ๆ และอาชีพการประมงชายฝั่ง
    1.6 ภูมิอากาศ
         ตำบลมะรุ่ยเป็นตำบลที่อยู่ในพื้นที่ใกล้ชายฝั่งทะเลอันดามัน ทำให้ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้มีฝนตกเกือบตลอดทั้งปี อุณหภูมิเฉลี่ย 27-31 องศาเซ็นเซียส
     1.7 จำนวนหมู่บ้าน 7 หมู่บ้าน
          - จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. เต็มทั้งหมู่บ้าน 7 หมู่ ได้แก่หมู่ที่ 1-7
          - จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. เต็มบางส่วน - หมู่ ได้แก่หมู่ที่ -
    1.8 ท้องถิ่นอื่นในตำบล
          - จำนวนเทศบาล - แห่ง 

   1.9  ประชากร
   

ลำดับที่

ชื่อหมู่บ้าน

 

ครัวเรือน

(หลัง)
ประชากร
ชาย
(คน)
ประชากร
หญิง
(คน)
ประชากร
รวม
(คน)

ชื่อผู้ใหญ่บ้าน

หมาย
เหตุ
1
บ้านโคกไคร
305
684
634
1,318
นายสมานศักดิ์ คาหาปะนะ

2
บ้านบ่อแสนไทรงาม
155
267
241
508
นายมนตรี พลันการ

3
บ้านท่าสนุก
297
617
595
1,212
นายอ้าหมีด คำนึงการ

4
บ้านมะรุ่ย
232
430
421
851
นายชะเวง สันตะการ
   กำนัน
5
บ้านคลองจูด
97
171
175
346
นายสุขคิด กล้าการ

6
บ้านปากทางมะรุ่ย
200
382
400
782
นายประยงค์ ทองคำ

7
บ้านโคกเลือด
189
294
334
628
นายนิตย์ แสงทอง

รวม
1,475
2,845
2,800
5,645




2.  สภาพทางเศรษฐกิจ
    2.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมรายได้ในการประกอบอาชีพหลักของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ได้แก่ เกษตรกรรม รองลงมาได้แก่ อาชีพประมง รับจ้าง และค้าขาย
    พื้นที่เกษตรทั้งหมด 20,974 ไร่
          - ปลูกยางพารา จำนวน 16,588 ไร่
          - ปลูกปาล์มน้ำมัน จำนวน 3,431 ไร่
          - ไม้ผลและไร่นาสวนผสม จำนวน 955 ไร่
     ปริมาณผลผลิต เพิ่มผลผลิต
            ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรเกือบทุกชนิดของตำบลมะรุ่ย ส่วนใหญ่ผลผลิต / ไร่ต่ำ เนื่องจากขาดการบำรุงรักษาใช้ปัจจัยไม่ตรงตามหลักวิชาการ
     พันธุ์พืช
          - ไม้ผลไม้ยืนต้น เกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้พันธุ์ดีหรือพันธุ์ที่ทางราชการส่งเสริม เช่น ยางพารา ปาล์มน้ำมัน
          - พืชผัก พืชไร่ เกษตรกรใช้พันธุ์ที่ทางราชการส่งเสริม
     อาชีพประมง   มีผู้ประกอบอาชีพ 450 ครัวเรือน
     การเลี้ยงสัตว์   ยังไม่มีการเลี้ยงสัตว์เป็นการแพร่หลายมากนัก แต่มีการเลี้ยงพอควร สัตว์ที่เลี้ยงมาก คือ สุกร,โคเนื้อ,แพะ,เป็ด,ไก่ ส่วนมากเลี้ยงพอใช้งานและเป็นอาหารในครัวเรือนเท่านั้น
     สัตว์เศรษฐกิจ
          - สุกร มีทั้งสุกรพันธุ์ดี และสุกรพื้นเมือง
          - โคเนื้อ มีทั้งโคพันธุ์ดี และโคพันธุ์พื้นเมือง
          - ไก่ มีทั้งไก่พื้นเมือง และไก่เนื้อ ลักษณะการเลี้ยงไก่เนื้อเป็นการเลี้ยงเพื่อส่งบริษัทรับซื้อและบริโภคในครัวเรือน
    การใช้ที่ดิน
            เกือบทั้งหมดของประชากรตำบลมะรุ่ย ประกอบอาชีพด้านการเกษตร การใช้ที่ดินส่วนใหญ่ เน้นไปทางด้านการเกษตร ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่จะปลูกยางพาราประมาณ 80% ส่วนไม้ผลและไร่สวนผสม ประมาณ 18% และอื่นๆ 2%
  2.2 รายได้ รายจ่ายของครัวเรือน
        ตำบลมะรุ่ย ราษฎรส่วนใหญ่มีรายได้ครัวเรือนละ 45,000 – 50,000 บาท ต่อปี ส่วนรายจ่าย ประมาณ 35,000 บาทต่อปี
 2.3 พื้นที่ / สภาพการถือครอง
       พื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร พืชยืนต้น คือ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา ไม้ผล และไร่นาสวนผสม ส่วนสภาพการถือครองที่ดินสิทธิยังเป็นของผู้นำครอบครัว คือ พ่อ แม่ ส่วนลูก ๆ ซึ่งมีครอบครัวเป็นของตัวเองแล้ว ยังต้องทำกินในพื้นที่ซึ่งเป็นสิทธิของพ่อแม่
 2.4 หน่วยธุรกิจในเขต อบต.
         - ธนาคาร - แห่ง
         - โรงแรม - แห่ง
         - ปั๊มน้ำมันและก๊าซ 2 แห่ง
         - โรงงานอุตสาหกรรม - แห่ง
         - โรงสี - แห่ง
         - แพปลา - แห่ง

3. สภาพทางสังคม
    3.1 ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรม อิทธิพลทางความคิด (ค่านิยม)
          ราษฎรในตำบลมะรุ่ยมีขนบธรรมเนียมประเพณีเหมือนตำบลอื่นทั่วไป ราษฎรรักความสงบ ขยันทำมาหากิน
    3.2 ศาสนา สิ่งยึดเหนี่ยว และข้อห้ามต่าง ๆ
          ราษฎรนับถือศาสนาพุทธ 59% อิสลาม 41% ศาสนาและการกระทำพิธีทางศาสนาในวันสำคัญต่าง ๆ เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวของราษฎรในตำบลมะรุ่ย มีสถาบันทางศาสนา คือ วัด 3 แห่ง มัสยิด 2 แห่ง
    3.3 องค์กรในชุมชน
          - อปพร. 1 รุ่น
          - ลูกเสือชาวบ้าน 1 รุ่น
          - ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน 1 รุ่น
          - กลุ่มอาชีพ 13 กลุ่ม
   3.4 การศึกษา
          - โรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษา 3 แห่ง
          - โรงเรียนขยายโอกาส 1 แห่ง
          - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน/ห้องสมุดประชาชน 7 แห่ง
          - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง
  3.5 สถาบันและองค์กรทางศาสนา
          - วัด/สำนักสงฆ์ 3 แห่ง
          - มัสยิด 2 แห่ง
          - ศาลเจ้า - แห่ง
  3.6 สาธารณสุข
         - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล/หมู่บ้าน 2 แห่ง
         - สถานพยาบาลเอกชน - แห่ง
         - ร้านขายยาแผนปัจจุบัน 2 แห่ง
  3.7 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
        - สถานีตำรวจ - แห่ง
        - สถานีดับเพลิง - แห่ง
        - ป้อมตำรวจ 1 แห่ง

4. การบริการพื้นฐาน
   4.1 การคมนาคม
         การคมนาคมในตำบลมะรุ่ย ประชาชนในตำบลมะรุ่ยติดต่อระหว่างหมู่บ้านจะใช้รถจักรยานยนต์และรถยนต์เป็นพาหนะ ในการเดินทางติดต่อระหว่างหมู่บ้าน มีถนนสายหลักของตำบล จำนวน 2 สายได้แก่
         1. ถนนสายทับปุด – โคกไคร
         2. ถนนสายบ่อแสน – โคกเลือด
             มีถนนสายภายในหมู่บ้าน จำนวน 19 สาย สภาพการจราจรไม่สะดวก
   4.2 การโทรคมนาคม
         - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง
         - สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ - แห่ง ระบุ……………………………..
   4.3 การไฟฟ้า
         - มีไฟฟ้าเข้าถึงครบทุกหมู่บ้านในเขตตำบลมะรุ่ย รวม 7 หมู่บ้าน
         - มีผู้ใช้ไฟฟ้า จำนวนร้อยละ 98 ส่วนที่เหลืออยู่ระหว่างดำเนินการสำรวจ เพื่อดำเนินการของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดพังงา
   4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
         - คลองบางหลง    ไหลผ่านหมู่ที่ 6,7
         - คลองบางยวน    ไหลผ่านหมู่ที่ 5,7
         - คลองบางทะ      ไหลผ่านหมู่ที่ 4,6
         - คลองมะรุ่ย        ไหลผ่านหมู่ที่ 4,6
         - คลองจูด             ไหลผ่านหมู่ที่ 5
    4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
         - ประปา        1   แห่ง
         - ฝาย             1   แห่ง
         - บ่อน้ำตื้น  25   แห่ง
         - บ่อโยก     10   แห่ง
         - บ่อบาดาล 12  บ่อ

5. ข้อมูลอื่น ๆ
     5.1 ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่
           พื้นที่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลส่วนใหญ่เป็นที่ราบ มีป่า มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่งเหมาะสำหรับที่จะพัฒนาส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในตำบลให้เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ มีสภาพความเป็นอยู่อย่างสงบ ปัญหาด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินหรือความขัดแย้งอื่น ๆ มีน้อย 



คณะกรรมการสถานศึกษา (กศน.ตำบล)

          1.  นายบำรุง                ผลทวี                  ประธานกรรมการ
          2.  นายสุเทศ               ธัญรส                  กรรมการ
          3.   นายสุขคิด             กล้าการ                กรรมการ
          4.   นายมนตรี             พลันการ              กรรมการ
          5.   นายสิทธิพล          ทองคำ                 กรรมการ
          6.   นายนิตย์                แสงทอง              กรรมการ
          7.   นายศุภวัฒน์          ภู่อมร                   กรรมการ
          8.   นางประพิม           ประสารการ         กรรมการ
          9.   นางสาวรัตติกร     ประสารการ         กรรมการ
          10. นางสาววันดี         สาระการ              กรรมการ
          11. นายอ้าหมีด           คำนึงการ             กรรมการ
          12. นายจารุพงษ์         ทรายทอง             กรรมการ
          13. นายสุทิน              สุทธจิตร์              กรรมการ
          14. นางสาวแก้วใจ     จันทร์ศรี              กรรมการ
          15. นางกรุณา             อักษรเงิน             ผู้แทนองค์กรนักศึกษา
          16. นางพเยาว์             วีวอน                  ผู้แทนองค์กรนักศึกษา
          17. นางสาวจิรา          ศุภพฤกษ์            อาสาสมัคร  กศน.
          18. นายสนธยา           ภู่อมร                  หัวหน้า กศน.ตำบลเลขานุการ

องค์กรนักศึกษา กศน.ตำบลมะรุ่ย
1. นางสาวไรหนาบ     คงยศ                       ประธาน
2. นางสุกานดา            ประสารการ            รองประธาน
3. นางสุดใจ                มุ่งกิจ                       เหรัญญิก
4. นางกรุณา                อักษรเงิน                ปฏิคม
5. นางพเยาว์               วีวอน                       กรรมการ
6. นางสาวสายใจ        บุตรเด็น                   กรรมการ
7. นายณัฐกิจ               อินแก้ว                    กรรมการ
8. นายกรกช                วิลวัฒน์                    กรรมการ
9. นางสาวศิริมีนา        ปราธาน                   กรรมการ
10. นางสาวสายชล      ฉิมบ้านไร่                กรรมการ
11. นางสาวกัลยกร      ชินการ                     กรรมการ
12. นางสาวสมฤทัย     ทองเจิม                    กรรมการและเลขานุการ
 




·         ชื่ออาสาสมัคร กศน......................
·         ชื่ออาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน.........................
รายการทรัพยากรและกิจกรรมที่มีไว้บริการ

ที่
ชื่อกิจกรรม
จำนวนทรัพยากร
กิจกรรมย่อยที่จัด
วันเวลาที่ให้บริการ
1
ห้องสมุด
หนังสือ        เล่ม




2.
ศูนย์ ICT
คอมฯ         เครื่อง




3.
ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน









ทำเนียบแหล่งเรียนรู้ในความรับผิดชอบ

ที่
ชื่อแหล่งเรียนรู้
ที่ตั้ง
โทรศัพท์
ชื่อผู้ให้บริการ
ประเภทความรู้ที่บริการ























































































ผลการดำเนินงานการศึกษาหลักสูตรขั้นพื้นฐานภาคเรียนที่..........................................................

ระดับ
เวลาพบกลุ่ม
สถานที่พบกลุ่ม
จำนวนนักศึกษาทั้งหมด
ชาย
หญิง
จำนวนวิชาที่ลงทะเบียน
รายชื่อกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ประถมศึกษา










มัธยมศึกษาตอนต้น










มัธยมศึกษาตอนปลาย










ผู้ไม่รู้หนังสือ














ผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

แผน
ผลการดำเนินงาน
กิจกรรม
เป้าหมาย/คน
งปม.ที่ได้รับ
ชาย
หญิง
รวม
งปม.ที่ใช้
ชื่อหลักสูตร/โครงการ
จำนวนชั่วโมง
สถานที่
วันที่ดำเนินการ
เครือข่าย/แหล่งสนับสนุนอื่นๆ
ทักษะอาชีพ














ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน














ทักษะชีวิต

















ผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

แผน
ผลการดำเนินงาน
กิจกรรม
เป้าหมาย/คน
งปม.ที่ได้รับ
ชาย
หญิง
รวม
งปม.ที่ใช้
ชื่อหลักสูตร/โครงการ
จำนวนชั่วโมง
สถานที่
วันที่ดำเนินการ
เครือข่าย/แหล่งสนับสนุนอื่นๆ
พัฒนาสังคมชุมชน














เศรษฐกิจพอเพียง














ส่งเสริมการอ่าน















ผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

แผน
ผลการดำเนินงาน
กิจกรรม
เป้าหมาย/คน
งปม.ที่ได้รับ
ชาย
หญิง
รวม
งปม.ที่ใช้
ชื่อหลักสูตร/โครงการ
จำนวนชั่วโมง
สถานที่
วันที่ดำเนินการ
เครือข่าย/แหล่งสนับสนุนอื่นๆ
การศึกษาตามอัธยาศัย














กิจกรรมพิเศษ



















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น